พระราชบัญญัติเงินตรา พ.ศ.2501 ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 11 "เหรียญกษาปณ์เป็นเงินที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายไม่เกินจำนวนที่กำหนดโดยกฎ กระทรวง" ดังนั้น หากจะชำระหนี้ด้วยเหรียญจึงต้องรู้ด้วยว่าสามารถชำระหนี้ได้คราวละกี่บาท ตามที่ประกาศในกฎกระทรวง
"เหรียญกษาปณ์ (Circulated coins) " มี 9 ชนิด ดังนี้
- เหรียญราคา 10 บาท
- เหรียญราคา 5 บาท
- เหรียญราคา 2 บาท
- เหรียญราคา 1 บาท
- เหรียญราคา 50 สตางค์
- เหรียญราคา 25 สตางค์
- เหรียญราคา 10 สตางค์
- เหรียญราคา 5 สตางค์
- เหรียญราคา 1 สตางค์
นอกจากนี้ ยังมีเหรียญกษาปณ์ที่ออกใช้ในวโรกาสต่างๆ อีกด้วย แต่ไม่เป็นที่นิยมนำมาใช้ชำระหนี้ เรียกว่า "เหรียญกษาปณ์ที่ระลึก (Commemorative coins)"
แต่ .....
พระราชบัญญัติเงินตรา พ.ศ.2501 ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 11 "เหรียญกษาปณ์เป็นเงินที่ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายไม่เกินจำนวนที่กำหนดโดยกฎ กระทรวง" ดังนั้น หากจะชำระหนี้ด้วยเหรียญจึงต้องรู้ด้วยว่าสามารถชำระหนี้ได้คราวละกี่บาท ตามที่ประกาศในกฎกระทรวง
ดังนั้นการซื้อสินค้า หรือบริการ ควรเลือกชำระให้เหมาะสมกับจำนวนมูลค่านะครับ คือ ค่าของเงินมันเท่ากันก็จริง แต่ทว่ามันคงเสียเวลาไม่น้อย ที่ต้องมานั่งนับกัน เสียเวลาทั้งผู้ซื้อ และผู้ขาย
สำนักกษาปณ์ : การกำหนดจำนวนเงินที่ให้เหรียญกษาปณ์
•วัน•พฤหัสบดี•ที่ 10 •กันยายน• 2009 เวลา 04:00 น.
เหรียญกษาปณ์เป็นเงินตราที่ชำระหนี้ได้ตามกฏหมายไม่เกินจำนวนที่กำหนดโดยกฏกระทรวง
|
||
ชนิด-ชนิดราคา
|
จำนวนที่ชำระหนี้ได้คราวละ
|
กฏกระทรวงที่กำหนด
|
ครึ่งสตางค์ , 1 สตางค์
|
ไม่เกิน 5 บาท
|
ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2506) ลว.3 ธ.ค.06
|
5,10,20,25,50 สตางค์
|
ไม่เกิน 10 บาท
|
" "
|
1 บาท
|
ไม่เกิน 500 บาท
|
" "
|
2 บาท
|
ไม่เกิน 500 บาท
|
รก. เล่ม122 ตอน81 ก 15 ก.ย.48
|
5 บาท ทองขาว
|
ไม่เกิน 1,000 บาท
|
ฉบับที่ 15 (พ.ศ.2506) ลว.3 ธ.ค.06
|
5 บาท โลหะสีขาวเคลือบไส้ทองแดง
|
ไม่เกิน 500 บาท
|
ฉบับที่ 53 (พ.ศ.2523) ลว.11 มิ.ย.23
|
10 บาท ทุกชนิด
|
ไม่เกิน 1,000 บาท
|
ฉบับที่ 100(พ.ศ.2533) ลว.29 พ.ย.33
|
20 บาท
|
ไม่เกิน 500 บาท
|
ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2506) ลว.3 ธ.ค.06
|
50 บาท
|
ไม่เกิน 1,000 บาท
|
กฤษฎีกาเล่ม123 ตอน43ก 27 เม.ย.49
|
100 บาท
|
ไม่เกิน 2,000 บาท
|
ฉบับที่ 105(พ.ศ.2535) ลว. 2 ก.ย.35
|
150 บาท เงิน
|
ไม่เกิน 3,000 บาท
|
ฉบับที่ 31 (พ.ศ.2519) ลว.4 ต.ต.19
|
200 บาท เงิน
|
ชำระหนี้ได้ไม่จำกัดจำนวน
|
ฉบับที่ 49 (พ.ศ.2522) ลว.19 พ.ย.22
|
250 บาท เงิน
|
"
|
ฉบับที่ 72 (พ.ศ.2526) ลว.30 พ.ย.26
|
300 บาท เงิน
|
"
|
ฉบับที่ 51 (พ.ศ.2522) ลว.19 พ.ย.22
|
600 บาท เงิน
|
"
|
ฉบับที่ 53 (พ.ศ.2523) ลว.11 มิ.ย.23
|
800 บาท เงิน
|
"
|
รก. เล่ม 124/ตอนที่ 21 ก/หน้า 8/23 เม.ย. 50
|
900 บาท เงิน
|
"
|
รก. เล่ม 123/ตอนที่ 120 ก/หน้า 3/8 ธ.ค.49
|
150 บาท ทองคำ
|
"
|
ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2511) ลว.31 ก.ค.11
|
300 บาท ทองคำ
|
"
|
" "
|
400 บาท ทองคำ
|
"
|
ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2514) ลว.27 เม.ย.14
|
600 บาท ทองคำ
|
"
|
ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2511) ลว.31 ก.ค.11
|
800 บาท ทองคำ
|
"
|
ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2514) ลว.27 เม.ย.14
|
1500 บาท ทองคำ
|
"
|
" "
|
2500 บาท ทองคำ
|
"
|
ฉบับที่ 72 (พ.ศ.2526) ลว.30 พ.ย.26
|
3000 บาท ทองคำ
|
"
|
ฉบับที่ 45 (พ.ศ.2521) ลว.31 ส.ค.21
|
4000 บาท ทองคำ
|
"
|
ฉบับที่ 63 (พ.ศ.2525) ลว.27 พ.ค..25
|
5000 บาท ทองคำ
|
"
|
ฉบับที่ 27 (พ.ศ.2518) ลว.30 มิ.ย.18
|
6000 บาท ทองคำ
|
"
|
ฉบับที่ 66 (พ.ศ.2525) ลว. 2 ส.ค..25
|
7500 บาท ทองคำ
|
"
|
รก.119ก/25/2 ธ.ค. 45
|
9000 บาท ทองคำ
|
"
|
ฉบับที่ 53 (พ.ศ.2523) ลว.11 มิ.ย.23
|
12000 บาท ทองคำ
|
"
|
รก. เล่ม 123/ตอนที่ 57 ก/หน้า 39/1 มิ.ย. 49
|
16000 บาท ทองคำ
|
"
|
รก. เล่ม 124/ตอนที่ 21 ก/หน้า 8/23 เม.ย. 50
|
ข้อมูลจาก : http://www.royalthaimint.net/
สาระเพิ่มเติม : หลักเกณฑ์การรับแลกคืนเหรียญกษาปณ์ชำรุด
อ่านต่อ >>
No comments:
Post a Comment